ข้อสอบ pat 2 พร้อมเฉลย

1.(PAT2 มี.ค. 52) อะตอมหรือไอออนของธาตุคู่ใดเป็นไอโซอิเล็กทรอนิกส์


1.O2 และ N2
2.O และ Ar
3.S2- และ Ne
4.S2- และ Ar


ตอบ 4


2. (PAT2 ก.ค. 52) อะตอม 4015Ar และไอออน 4521Sc3+ มีความสัมพันธ์ต่อกันแบบใด
1.ไอโซโทป
2.ไอโซโทน
3.ไอโซบาร์
4.ไอโซอิเล็กทรอนิกส์

ตอบ 4

3.(PAT2 ต.ค. 54) ธาตุ A อยู๋ในคาบ 4 หมู่ IA ธาตุ B อยู่ในคาบ 3 หมูj่ 6A ธาตุ A และ B เกิดสารประกอบ AXBY
จากข้อมูลข้างต้น ข้อใดต่อไปนี้ ถูกต้อง
1.ธาตุ A มีเลขอะตอมเท่ากับ 20 ธาตุ B  มีเลขอะตอมเท่ากับ 16
2.จำนวนอิเล็กตรอนของไอออนของ A มีค่าเท่ากับ 18
3.จำนวนอิเล็กตรอนของธาตุ A น้อยกว่าธาตุ B
4.ธาตุ B เกิดสารประกอบโคเวเลนต์กับธาตุ 1H ได้สารที่มีสถานะเป็นของเหลวที่อุณหภูมิห้อง

ตอบ2


ที่มา : https://www.dek-d.com/board/view/1449521/
42. เฉลย 2
เหตุผล เพราะ ทั้งสองต่างมีประจุบวก จึงต้องเคลื่อนที่ไปแนวเดียวกัน ตัดข้อ 1 ทิ้งเลย 
แต่ He มีมวลน้อยกว่า Ne จึงสามารถเลี้ยวเบนแล้วมีรัศมีการเลี้ยวเบนที่สั้นกว่า 

ที่มา : https://www.dek-d.com/board/view/1449521/

43.  ตอบ ไม่มีคำตอบ หากพิจรณาตามข้อมูลในความเป็นจริงจะตอบข้อ 1
เหตุผล 
ธาตุ X เลขอะตอม 29 รู้ทันทีว่าคือ Cu เป็นธาตุทรานซิชั่นแถวแรกตัวที่ 9  เป็นของแข็ง และ E0 เป็นลบ จริงๆ อันนี้ขัดจากความจริงเพราะ Cu มีค่า E0 เป็นบวก
ธาตุ Y โมเลกุลอะตอมคู่ มี 7 ธาตุ คือ ไฮโดรเจน ไนโตรเจน ออกซิเจน ฟลูออรีน คลอรีน โบรมีน ไอโอดีน แต่โจทย์บอกว่า มีร้อยละ 20 ในอากาศ มันคือ ก๊าซออกซิเจนนั่นเองครับ 
ธาตุ Z เป็นแก๊สสีเขียว เป็นโมเลกุลอะตอมคู่แบบ Y 
ไฮโดรเจน ไนโตรเจน ออกซิเจน ฟลูออรีน คลอรีน โบรมีน ไอโอดีน มี 5 ธาตุ ที่เป็นก๊าซคือ ไฮโดรเจน ไนโตรเจน ออกซิเจน ฟลูออรีน คลอรีน 
ส่วนโบรมีนเป็นของเหลว ไอโอดีนเป็นของแข็ง แต่โจทย์บอกมีสีเขียว  ไฮโดรเจน ไนโตรเจน ออกซิเจน ฟลูออรีน เป็นก๊าซไม่มีสี ดังนั้นจึงเป็นก๊าซคลอรีน 
ดูทีละตัวเลือก
1.Cu+HCl----->ไฮโดรเจน ถูกต้องตามโจทย์ครับ เพราะ จะเกิดปฏิกิริยาได้จะต้องมีค่า E0 มากกว่าไฮโดรเจน(ซึ่งเท่ากับ0) แต่ในความเป็นจริง Cu E0 มันเป็นบวกครับ ข้อนี้จึงผิด 
2.Cu เกิดปฏิกิริยากับ Cl เป็นสารประกอบไอออนิก ถูกชัวร์ๆ เพราะ โลหะ+อโลหะ =พันธะไออนิก 
3.สารประกอบ X Y นั่นคือ Cl กับ O สภาพเป็นกรดเมื่อละลายน้ำ ข้อนี้ก็ถูกครับ คลอไรด์ของอโลหะ หรือออกไซด์ของอโลหะที่ละลายน้ำสมบัติเป็นกรด
4.ธาตุ X เกิดเป็นสารประกอบ
XBrได้ ถูกครับ X คือ Cu มีเลขออกซิเดชั่นได้หลายค่า เกิดได้แน่นอน
ที่มา : https://www.dek-d.com/board/view/1449521/
หมายเหตุ*** ข้อ44 คือข้อเดียวกันกับข้อ 2
ข้อ 45 ตอบ 4.Li+
เหตุผล ไอออนหรือธาตุจะมีความเสถียรเมื่อมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบก๊าซเฉื่อย
1.H+ 
2.He+
3.He2+    
4.Li+        จัดเรียงได้เป็น 2 ซึ่งเหมือนกับ He 
เพิ่มคำอธิบายภาพ
ข้อ 53 ตอบ ข้อ 2 
โจทย์บอกผสมกันโดยไม่เกิดปฏิกิริยา อุณหภูมิไม่เปลี่ยนแปลง 
แทนสูตร PV=nRT ได้เลย
หา n ก่อนครับ จะได้ไม่งง n=g/m=(0.10/2)+(0.11/44) 
(P)(0.4+0.2)=(0.05+0.0025)(0.082)(27+273) 
ย้ายข้างสมการหา P = 2.152 atm 
ข้อควรระวัง การแทนสูตร PV=nRT ต้องระวังหน่วย
P หน่วย atm หรือ บรรยากาศ
V หน่วย ลิตร 
T หน่วย เคลวิน 
ข้อ 54 ตอบ 4 
เหตุผล การแพร่ของก๊าซ ขึ้นกับมวลโมเลกุล มวลโมเลกุลมากแพร่ช้า มวลโมเลกุลน้อยแพร่เร็ว
ที่มา : https://www.dek-d.com/board/view/1449521/
ข้อ 58 ตอบ 2
เป็นการเปรียบเทียบแก๊ส 2 สภาวะ
จากสูตร PV/mT=PV/mT 
แทนค่า สูตรนี้ P V ไม่บังคับหน่วยแต่ต้องเป็นหน่วยเดียวกัน 
T ในเรื่องนี้คิดเคลวินตลอดนะครับ 
1 บรรยากาศ=760 มิลลิเมตรปรอท 
เปลี่ยนองศาเซลเซียสเป็นเคลวินทำได้โดย +273 
(760)(2)/(1)(285)=(608)(V)/(342)(2)
V= 6 ลิตร
ที่มา : https://www.dek-d.com/board/view/1449521/
ข้อ 56 ตอบ 3
กรณีความดัน เพิ่มความดัน สมดุลเลื่อนไปทางโมลที่น้อยกว่า (นับโมลแก๊สเท่านั้น) ระวังถ้าโจทย์ไม่ดุลสมการมาให้ แต่ข้อนี้ใจดี ดุลสมการให้แล้ว 
ดังนั้น 
1.ไปทางขวา
2.ไม่มีผล
3.ไปทางซ้าย
4.ไปทางซ้าย
กรณีอุณหภูมิ ต้องรู้ว่า สมดุลนั้นเป็นดูดหรือคายความร้อน ถ้าเป็นระบบดูดความร้อนการเพิ่มอุณหภูมิ สมดุลจะเลื่อนไปข้างหน้า(ทางขวา)
ดังนั้น
1.เอนทัลปี<0 แสดงว่า เป็นระบบคายความร้อน สมดุลจะเลื่อนไปทางซ้าย 
2.เอนทัลปี>0 แสดงว่า เป็นระบบดูดความร้อน   สมดุลจะเลื่อนไปทางขวา
3.+พลังงานไปด้านผลิตภัณฑ์ เป็น ระบบคายความร้อน สมดุลจะเลื่อนไปทางซ้าย
4..+พลังงานไปด้านสารตั้งต้น เป็น ระบบดูดความร้อน สมดุลจะเลื่อนไปทางขวา
ที่มา : https://www.dek-d.com/board/view/1449521/
ข้อ 59 ตอบ 2
กรด pH=3 นำมาเจือจางด้วยน้ำ pH มันต้องเพิ่มขึ้น ตัดข้อ 1 ทิ้งไปเลย 
การเจือจางสารละลาย สูตร CV=CV 
(0.1)(100)=(C)(100+900)
C=0.01 
หาความเข้มข้นของ [H+]=10^-3.5
Take log หา pH=3.5 

เฉลย PAT2 วิชาเคมี 

เรียนเคมีที่บ้าน
เรียนเคมีที่บ้าน
เรียนเคมีที่บ้าน

เรียนเคมีที่บ้าน
เรียนเคมีที่บ้าน
เรียนเคมีที่บ้าน
เรียนเคมีที่บ้าน
เรียนเคมีที่บ้าน
เรียนเคมีที่บ้าน
เรียนเคมีที่บ้าน


เรียนเคมีที่บ้าน

เรียนเคมีที่บ้าน
เรียนเคมีที่บ้าน
เรียนเคมีที่บ้าน
เรียนเคมีที่บ้าน




 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น